สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)จัดปาฐกถาพิเศษ “EEC ในแนวโน้มการลงทุนของบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย และ แนวทางการปรับตัวภาคอุตสาหกรรมในยุค 4.0”

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)จัดปาฐกถาพิเศษ
“EEC ในแนวโน้มการลงทุนของบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย และ แนวทางการปรับตัวภาคอุตสาหกรรมในยุค 4.0”
ข่าว -ภาพ พาฝัน ปิ่นทอง ญี่ปุ่น 005
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)จัดปาฐกถาพิเศษ
“EEC ในแนวโน้มการลงทุนของบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย และ แนวทางการปรับตัวภาคอุตสาหกรรมในยุค 4.0”ญี่ปุ่น 027
โดยได้รับเกียรติจาก Mr.HIROKI MITSUMATA ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO ) และคุณเจน นำชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่วมเป็นวิทยากร ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2560 เวลา 11.30 น.-15.00 น.ณ ห้อง3C ชั้น3 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) ถ.พัฒนาการ ซ.พัฒนาการ 18 กรุงเทพฯญี่ปุ่น 036
ญี่ปุ่น 017ญี่ปุ่น 018ญี่ปุ่น 023ญี่ปุ่น 024ญี่ปุ่น 025ญี่ปุ่น 038รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ นายกสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) กล่าวว่า “จากนโยบายของภาครัฐว่าด้วยเรื่องการผลักดันภาคตะวันออกของประเทศไทย เพื่อให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจชั้นนำของเอเชีย ที่จะสนับสนุนการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการยกระดับ คุณภาพชีวิตและรายได้ของประชาชนญี่ปุ่น 045 ภายใต้บทบาทและพันธกิจของ ส.ส.ท.ที่มุ่งส่งเสริมและมุ่งพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรม พร้อมทั้งให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อภาคธุรกิจและผู้ประกอบการญี่ปุ่น 042 รวมถึงการเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนจากญี่ปุ่นด้วย ซึ่งเรามั่นใจว่าการเชื่อมโยงและผลักดันศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมไทยนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้สามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน”ญี่ปุ่น 048ญี่ปุ่น 054
ญี่ปุ่น 061ญี่ปุ่น 066ญี่ปุ่น 068ญี่ปุ่น 069นายฮิโรกิ มิทสึมะตะ ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (เจโทร)ผู้บรรยายในหัวข้อ แนวโน้มและยุทธศาสตร์การลงทุนของบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย กล่าวว่า “ไทยและญี่ปุ่น มีความใกล้ชิดกันมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะใน ด้านการลงทุน ซึ่งผู้ประกอบการจากญี่ปุ่นเป็นกลุ่มนักลงทุนรายใหญ่ที่สุด ที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยอย่างต่อเนื่องญี่ปุ่น 077 ปัจจุบันผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ จากญี่ปุ่น ได้เข้ามาลงทุนครบทุกรายแล้ว และได้ช่วยดึงให้ผู้ผลิตชิ้นส่วน รายสำคัญ และอุตสาหกรรมสนับสนุนอื่นๆ ตามเข้ามาลงทุนญี่ปุ่น 052ญี่ปุ่น 063ญี่ปุ่น 067เพื่อป้อนให้ ผู้ผลิตรายใหญ่จำนวนมาก ดังนั้น หากเราสามารถดึงดูดให้บริษัทญี่ปุ่นใน 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย และเป็นผู้นำในด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในระดับต้นๆ ของโลก เข้ามาลงทุนในไทยเพิ่มขึ้น บริษัทเหล่านี้จะเป็น แม่เหล็กช่วยดึงโครงการลงทุนอื่นๆ ตามเข้ามาในอนาคต ซึ่งอุตสาหกรรม เป้าหมายเหล่านี้จะเป็นปัจจัยสำคัญของประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0”ญี่ปุ่น 094
คุณเจน นำชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้บรรยาย ในหัวข้อ “แนวทางการปรับตัวภาคอุตสาหกรรมในยุค 4.0 กล่าวถึงจุดเด่นของ อุตสาหกรรม 4.0 ว่า เป็นการผลิตที่เปลี่ยนจากMass Production เป็น Mass Customization นั่นก็คือ โรงงานในยุค 4.0 หรือ Smart Factoryญี่ปุ่น 101 จะมีกระบวนการผลิตที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพด้วยการใช้ระบบไซเบอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ครบวงจร ควบคุมการสื่อสาร ทำให้เกิดการผลิตสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่มีความแตกต่างกันในแต่ละราย ในระยะเวลาอันสั้นญี่ปุ่น 135 เมื่อเทียบกับการผลิตในอุตสาหกรรม 3.0 ที่ผลิตสินค้าได้จำนวนมาก แต่สินค้าจะเป็นรูปแบบเดียวกัน ซึ่งกระบวนการผลิตของยุค 4.0 ญี่ปุ่น 120จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรมไทย เพราะเป็นระบบการผลิตที่ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า คือ ประหยัดเวลา ใช้แรงงานน้อยลง และกระบวนการผลิตมีความแม่นยำน่าเชื่อถือญี่ปุ่น 119
สำหรับปาถกฐาพิเศษในครั้งนี้ จะเป็นการนำเสนอข้อมูลและสาระสำคัญอันเป็นแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับตัวของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทยสู่ความเจริญก้าวหน้าของประเทศในเรื่องใดนั้นสิ่งที่น่าสนใจของเสวนาในครั้งนี้คือญี่ปุ่น 137 นอกจากผู้ที่ได้ร่วมรับฟังจะได้ทราบถึงทิศทางของอนาคตอุตสาหกรรมไทยว่าจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดและ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ญี่ปุ่น 136จะสามารถขับเคลื่อนการเติบโตของระบบเศรษฐกิจประเทศไทยสู่สากลได้อย่างไรแล้วงานนี้ยังเป็นการรวมตัวของเหล่าบุคคลสำคัญในแวดวงธุรกิจและนักวิชาการจำนวนมากที่มาร่วมงาน

Coffee Shop

ดูผลงานทั้งหมด »

Entertainment

ดูผลงานทั้งหมด »

Sport

ดูผลงานทั้งหมด »

Activity

ดูผลงานทั้งหมด »